วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ศึกษาเนื้อหาหลักการรายงานผล

ศึกษาเนื้อหาหลักการรายงานผล

1.การรายงานผลมีความสำคัญอย่างไร ต่อการจัดการศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้
1. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการเขียนรายงาน เราต้องก าหนด
วัตถุประสงค์การเขียนรายงานทุกครั้ง เช่น
- เป็นการรายงานเรื่องอะไร
- เป็นการรายงานต่อผู้บังคับบัญชาระดับใด
- ต้องการรายงานเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทราบเรื่องอะไรเป็นส าคัญ
2. การก าหนดเนื้อหาของรายงาน ควรเป็นสาระส าคัญเท่านั้น การ
พิจารณาสาระส าคัญได้แก่
- จัดเรียงล าดับความส าคัญของเนื้อหาที่เราต้องการรายงาน
- ตัดเนื้อหาส่วนที่เห็นว่ามีความเกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อยหรือไม่เกี่ยวข้อง
ออกไป
- ทบทวนแล้วน ามาเรียบเรียงเข้าด้วยกัน หากเห็นว่ายังไม่สมบูรณ์ก็เพิ่ม
สาระสับสนุนให้รายงานมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
3. การรายงานวิธีการด าเนินงาน ต้องค านึงถึงเรื่องต่อไปนี้
- การใช้ถ้อยค าที่ตรงกับความหมาย ให้ผู้อ่านเข้าใจได้ทันที ใช้
ถ้อยค าที่กระชับตัดค าที่ไม่จ าเป็นต้องใช้ออก
- เรียงข้อความตามล าดับขั้นตอนการท างาน อาจจะแบ่งเป็น
ขั้นตอนตามลักษณะงานที่ได้ท า หรือแบ่งตามหน้าที่ของบุคลากร
หรืออื่นๆ ที่ท าให้ผู้อ่านมองภาพการท างานได้พอสมควร
4. การน าเสนอข้อมูลประกอบการรายงาน ต้องน าเสนอดังนี้
- แหล่งที่มาของข้อมูล จัดเก็บมาจากหน่วยงานใด วันที่เก็บ
- วิธีการน าเสนอข้อมูลมีหลายวิธี ได้แก่
 ก. น าเสนอด้วยตารางแจกแจงความถี่ (เป็นข้อมูลดิบ)
 ข. น าเสนอด้วยข้อมูลที่ท าการวิเคราะห์มาแล้ว มีการใช้สถิติ
วิเคราะห์ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละเป็นต้น
 ค. น าเสนอด้วยกราฟ
- การแจกแจงข้อมูล เป็นการแสดงความคิดเห็นโดยน าตัวเลขข้อมูลมา
บรรยายสรุปตามความเป็นจริง
5. การสรุปผลการด าเนินงาน
 เป็นจุดส าคัญของรายงานที่ผู้อ่านจะให้ความสนใจมากที่สุดดังนั้นการ
สรุปผลการด าเนินงานต้องมีความชัดเจน มีผลที่เป็นจริงพิสูจน์ได้ มีความ
สอดคล้องกับข้อมู
6. การให้ข้อเสนอแนะ เป็นความคิดเห็นของผู้รายงานที่
ได้จากสภาพการด าเนินงานที่มองเห็นจุดที่มองเห็นจุดที่ควร
เสริมให้มีความสมบูรณ์ หรือให้มีคุณภาพการท างานเพิ่มขึ้น

รายงานผลการด าเนินงานมีโครงสร้างดังน
1. ปกรายงานประกอบด้วย
- ชื่อรายงานผลการด าเนินงาน
- ผู้รายงานหรือผู้ร่วมงาน
- เสนอต่อ..................หน่วยงานต้นสังกัด องค์กร
- ช่วงเวลาที่ด าเนินงาน
- อื่นๆ เช่น ภาพ สัญลักษณ์ ฯลฯ
2. ค าน า เขียนวัตถุ
4. บทน า เป็นการให้รายละเอียดทั่วไปของหน่วยงาน
 4.1 วัตถุประสงค์ของการด าเนินงาน
 4.2 หลักการและเหตุผลของการด าเนินงาน
 4.3 รายชื่อผู้ร่วมงาน
 4.4 รายชื่อที่ปรึกษา
 4.5 ระยะเวลาการด าเนินงาน
 4.6 งบประมาณ
 4.7 ปัญหาอุปสรรคที่พบระหว่างการท างาน
5. สาระของรายงาน ประกอบด้วย
- รายงานตามขั้นตอนหรือวิธีการท างาน
- รายงานตามลักษณะอุปสรรคปัญหา และวิธีการแก้ไข
- รายงานตามแบบฟอร์มขององค์กร
- รายงานเป็นตารางก าหนดการท างาน
- บรรยายสภาพการท างานอย่างละเอียดเพื่อให้เห็นปัญหาที่เกิดขึ้น (รายงานผล
การศึกษาวิธีการท างาน : Method Study)
- รายงานด้วยแผนภูมิ แสดงความเชื่อมโยงของงานแต่ละหน่วยงาน
- รายงานเป็นภาพจ าลอง เช่น ภาพจ าลองการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม
6. แสดงข้อมูลประกอบการรายงาน
7. สรุปผลการรายงาน ควรสรุปเป็นลักษณะต่อไปนี้
 7.1 เป็นข้อๆ เรียงตามล าดับความส าคัญ
 7.2 ถ้าเป็นผลกระทบให้สรุปผลกระทบจากส่วนใหญ่ไปสู่
ส่วนย่อย ตัวอย่าง
- ผลกระทบต่อประเทศ
- ผลกระทบต่อองค์กร
- ผลกระทบต่อหน่วยงาน
- ผลกระทบต่อบุคลากร
8. ข้อเสนอแนะ
9. ภาคผนวก เป็นรายงานอื่นๆ สถิติอื่นๆ ที่น ามาประกอบการ
รายงานหรือผลการตรวจสอบครั้งที่แล้ว แบบสอบถาม ส าเนา
ภาพถ่าย ภาพถ่าย ฯลฯ
10. เอกสารอ้างอิง

รายงานผลการตรวจสอบผลการด าเนินงาน

รายงานผลการตรวจสอบผลการด าเนินงาน เป็นเอกสารส าคัญ
ในการบริหารงานคุณภาพที่ผู้ท าหน้าที่ด าเนินการตรวจสอบต้อง
จัดท าบันทึกและเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบรายงานผลการ
ตรวจสอบผลการด าเนินงาน ประกอบด้วย
1. ปกรายงาน ได้แก่
- ชื่อศูนย์ "ศูนย์สื่อและเทคโนโลยีการศึกษา"
- ชื่อหน่วยงาน "ฝ่ายผลิตสื่อ"
- รายงานผลการตรวจสอบเรื่อง "กระบวนการผลิตสื่อ"
- เป็นเอกสาร.........
- วันที่เริ่มตรวจ
วันที่ตรวจเสร็จ
ระยะเวลาการตรวจสอบ...................วัน
- รายชื่อคณะกรรมการผู้ตรวจสอบ
2. เรื่องในรายงาน ประกอบด้วย
- บทสรุปผลการตรวจสอบ
- รายงานความเห็นของคณะกรรมการผู้ตรวจสอบ
3. รายละเอียดประกอบการรายงาน ได้แก่
- ใบมอบหมายให้ท าการตรวจสอบ
- ก าหนดการตรวจสอบ
- บันทึกการตรวจสอบ
- ส าเนาเอกสารผลการตรวจสอบครั้งล่าสุด
- ใบรายงานผลการตรวจสอบครั้งล่าสุด
- ใบรายงานผลการด าเนินงานของหน่วยงาน

บทสรุป
การรายงานผลการด าเนินงานการจัดการศูนย์ทรัพยากร
การเรียนรู้เป็นส่วนส าคัญในการแสดงข้อมูลอย่างเป็นระบบ
ให้กับผู้บังคับบัญชา หรือสาธารณชนได้รับทราบผลการ
ดำเนินงาน และเป็นการนำเสนอเพื่อปรับปรุงในการ
ดำเนินงานครั้งต่อ ๆ ไป

ศึกษาเนื้อหาหลักการประสานงาน

ศึกษาเนื้อหาหลักการประสานงาน

1. สิ่งสำคัญเบื้องต้นของการประสานงานมีอะไรบ้าง

1. การจัดวางหน่วยงานที่ง่ายและเหมาะสม
2. การมีโครงการและนโยบายอันสอดคล้องกัน
3. การมีวิธีติดต่องานภายในองค์การที่ท าไว้ดี
4. มีเหตุที่ช่วยให้มีการประสานงานโดยสมัครใจ
5. การประสานงานโดยวิธีควบคุม

1. การจัดวางหน่วยงานที่ง่าย (Simplified 
Organization) 
ในการจัดการศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้การจัดวางหน่วยงานควร
ค านึงถึง 
ก. การแบ่งแผนกซึ่งช่วยในการประสานงาน กล่าวคือ การจัดแผนก
ต่าง ๆ บางแผนกมีความจ าเป็นต้องประสานกันควรอยู่ใกล้ชิดกัน
เนื่องจากการติดต่ออย่างไม่เป็นทางการระหว่างผู้ที่ท างานอัน
เกี่ยวเนื่องอย่างใกล้ชิดกันมากขึ้น 
ข. การแบ่งตามหน้าที่ 
ค. การจัดวางรูปงานและระเบียบการที่ชัดแจ้งแก่ทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้อง

2. การมีโครงการและนโยบายอันสอดคล้องต้องกัน
(Harmonized Program and Policies) 

3. การมีวิธีติดต่องานภายในองค์การที่ท าไว้ดี (Well – Designed 
Methods of Communication) 
เครื่องมือที่ช่วยในการติดต่อส่งข่าวคราวละเอียด ได้แก่ 
ก. แบบฟอร์มในการปฏิบัติงาน (Working Papers) 
ข. รายงานเป็นหนังสือ (Written report) 
ค. เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในการติดต่องาน เช่น ระบบการติดต่อภายใน
 โรงพิมพ์ เป็นต้น 

4. เหตุที่ช่วยให้มีการประสานงานโดยสมัครใจ (Aids to 
Voluntary Coordination) 
 การประสานงานส่วนมากมักจะเกิดขึ้นจากการร่วมมือโดย
สมัครใจของบุคลากรในศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู

5. ประสานงานโดยวิธีควบคุม (Coordination through 
Supervision) 
 หัวหน้างานมีหน้าที่จะต้องคอยเฝ้าดูการด าเนินปฏิบัติงานต่าง ๆ 
เพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างสอดคล้องและจะต้องใช้วิธีประเมินผล
การปฏิบัติงานทุกระยะจะได้ทราบข้อบกพร่องหาทางแก้ไขให้การ
ปฏิบัติงานถูกต้องยิ่งขึ้น

/////////////////////////////////////

2. เทคนิคการประสานงาน (Techniques 
Coordination) มีอะไรบ้าง

ความส าคัญของการประสานงาน 
1. การประสานงานเป็นกระบวนการในการบริหาร 
2. การประสานงานเป็นระเบียบธรรมเนียมในการ
บริหารงาน 
3. การประสานงานเป็นหน้าที่ของนักบริหารหรือ
หัวหน้างาน 

ประเภทของการประสานงาน 
 (Types of Coordination)
ประเภทของการประสานงานแบ่งได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 
1. การประสานงานภายในองค์การและภายนอกองค์การ การประสานงานภายใน
องค์การ หมายถึง การประสานงานภายในหน่วยงานหรือองค์การนั้น ๆ ส่วนการ
ประสานงานภายนอกองค์การเป็นการประสานงานระหว่างหน่วยงานหรือการ
ติดต่อกับบุคลลภายนอกต่าง ๆ 
2. การประสานงานในแนวดิ่ง และการประสานงานในแนวราบ การประสานงาน
ในแนวดิ่ง หมายถึง การประสานงานจากผู้บังคับบัญชามาสู่ผู้ใต้บังคับบัญชา 
(Top down) และการประสานงานจากผู้ใต้บังคับบัญชาไปยัง
ผู้บังคับบัญชา (Bottom up) ส่วนการประสานงานในแนวราบ หมายถึง การ
ประสานงานในระดับเดียวกัน 

เทคนิคการประสานงาน (Techniques Coordination) 
1. จัดให้มีระบบการติดต่อสื่อสารทั้งภายในหน่วยงานและภายนอก
หน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
2. การก าหนดอ านาจหน้าที่และต าแหน่งงานอย่างชัดเจน 
3. การสั่งการและการมอบหมายอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 
4. การใช้คณะกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ที่ท าหน้าที่ประสานงานโดยเฉพาะ
การประสานงานภายในองค์การ 
5. การจัดให้มีการประสานงานระหว่างพนักงานในองค์การ 
6. การจัดให้มีการฝึกอบรมและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา 
7. การติดตามผล

////////////////////

 3. จงอธิบายอุปสรรคของการประสานงาน มาพอเข้าใจ

อุปสรรคของการประสานงาน 
1. การขาดความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกันจะกลาย
เป็นสาเหตุท าให้การติดต่อประสานงานที่ควรด าเนินไปด้วยดี ไม่สามารถ
กระท าได้ 
2. การขาดผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหารที่มีความสามารถ 
3. การปฏิบัติงานไม่มีแผน ซึ่งเป็นการยากที่จะให้บุคคลอื่น ๆ ทราบ
วัตถุประสงค์และวิธีการในการท างาน 
4. การก้าวก่ายหน้าที่การงาน 
5. การขาดการติดต่อสื่อสารที่ดีย่อมท าให้การท างานเป็นระบบที่
ดีของความร่วมมือขาดความเข้าใจซึ่งกันและกัน 
6. การขาดการนิเทศงานที่ดี 
7. ความแตกต่างกันในสภาพและสิ่งแวดล้อม 
8. การด าเนินนโยบายต่างกันเป็นอุปสรรคต่อการประสานงาน 
9. ประสิทธิภาพของหน่วยงานต่างกันจะเป็นการยากที่จะก่อให้เกิดมี
ความร่วมมือและประสานงานกันเพราะแสดงว่ามีฝีมือคนละชั้น 
10. การท าหน้าที่ความรับผิดชอบและอ านาจไม่ชัดแจ้งท าให้
ผู้ปฏิบัติงานเกิดความกังวลใจและอาจไปก้าวก่ายงานของบุคคลอื่นก็ได้ 
11. ระยะทางติดต่อห่างไกลกัน 
12. เทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน
เนื่องมาจากการกุมอ านาจหรือการกระจายอ านาจมากเกินไป

ประเภทและหลักการจัดหาทรัพยากรการเรียนรู้

ประเภทและหลักการจัดหาทรัพยากรการเรียนรู้

 1. ข่าวของมหาวิทยาลัยบูรพาในหน้าหนังสือพิมพ์จัดอยู่ในประเภทของทรัพยากรการเรียนรู้ใด และมีชื่อเรียกว่าอะไร    

เป็นประเภทสื่อทรัพยากรการเรียนรู้ที่ตีพิมพ์ คือ สิ่งพิมพ์ที่มีการบันทึกความรู้ ความคิดของมนุษย์นำมารวบรวมเป็นเล่ม ให้ผู้อ่านได้ศึกษาค้นคว้าและใช้อ้างอิง
        เรียกว่าเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง คือ สิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องกันตามกำหนดเวลาที่กำหนดไว้ คือหนังสือพิมพ์รายวัน ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ที่กำหนดออกเป็นประจทุกวัน เพื่อนำเสนอข่าว และเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวใหม่ ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เช่น ข่าวการเมือง ข่าวเศรษฐกิจและสังคม ข่าวการศึกษา ข่าวกีฬา ข่าวธุรกิจ ข่าวบันเทิง บทความทางวิชาการและ สาระน่ารู้ เป็นต้น

2. ถ้าต้องการคัดเลือกสื่อวีดิทัศน์มาให้บริการนิสิตจะมีหลักการอย่างไรในการคัดเลือกสื่อดังกล่าว


                                   หลักการคัดเลือกสื่อวีดิทัศน์ มีดังนี้
- กำหนดเกณฑ์การประเมินเพื่อคัดเลือกสื่อวีดิทัศน์ให้ชัดเจน
- ต้องสัมพันธ์กับหลักสูตรการเรียนการสอนในสถานศึกษานั้น ๆ
-  เนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ นำเสนอเนื้อหาได้ดีเป็นลำดับขั้นตอน
-  เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์
- สะดวกในการใช้ ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป
- มีคุณภาพ มีเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนและเป็นจริง
- ราคาไม่แพงเกินไป    
- ถ้าจะผลิตเองควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน


3. การจัดซื้อทรัพยาการเรียนรู้มีกี่วิธีการ อะไรบ้าง

  การจัดซื้อทรัพยาการเรียนรู้มี 4 วิธีการ ดังนี้
1) สั่งซื้อโดยตรง : ในประเทศ / ต่างประเทศ
2) สั่งซื้อผ่านร้าน/ตัวแทนจำหน่าย : ในประเทศ / ต่างประเทศ
3) เว็บไซต์ : ในประเทศ / ต่างประเทศ
4) จัดซื้อในรูปภาคีร่วมกับศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ

วันอังคารที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

หลักการวางแผน

ผังโครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้

ให้นิสิตแต่ละคน หาตัวอย่างของศูนย์สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัยมา คนละ 1 ศูนย์ โดยต้องอธิบายดังรายละเอียดต่อไปนี้
            4.1 นโยบาย ของศูนย์ วิสัยทัศน์ และกลุ่มเป้าหมายของศูนย์
            4.2 แหล่งที่มาของศูนย์
            4.3 แผนการดำเนินงาน (ถ้ามี)
ตอบ มิวเซียมสยามพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200โทรศัพท์ 02 225 2777โทรสาร 02 225 2775

 4.1 นโยบาย ของศูนย์ วิสัยทัศน์ และกลุ่มเป้าหมายของศูนย์ :
               
มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Museum Siam: Discovery Museum) ภายใต้ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) เป็นพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งแรกที่เน้น การสร้างประสบการณ์สดใหม่ในการชมพิพิธภัณฑ์ ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นต้นแบบของ แหล่งเรียนรู้ที่น่ารื่นรมย์ และช่วยยกระดับมาตรฐานการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ให้กับประชาชน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนไทยเกี่ยวกับการสร้างสำนึกในการรู้จัก ตนเอง รู้จักเพื่อนบ้าน และรู้จักโลก รวมถึงการสร้าง แนวคิดและภาพลักษณ์ใหม่ของพิพิธภัณฑ์ในสังคมแห่งการเรียนรู้ ผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ และกิจกรรมสร้าง สรรค์ เพื่อให้การเรียนรู้ประวัติศาสตร์และเรื่องราวต่างๆ เป็นไปอย่างสนุกสนานยิ่งขึ้น ซึ่งประกอบด้วย
                  •
นิทรรศการถาวร
                 •
นิทรรศการหมุนเวียน
                  •
กิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
ปรัชญาของสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Play + Learn =
เพลิน
                เป็นหัวใจสำคัญของสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ โดยมีจุดมุ่งหมายในการปฏิรูป พิพิธภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด นำเสนอด้วยรูปแบบที่สร้างสรรค์และสนุกสนานโดยใช้กิจกรรมต่างๆ เป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ ฉะนั้น ข้าวของเครื่องใช้ที่จัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์จะต้องเป็นสิ่งที่สามารถจับต้องได้ เพื่อสื่อความหมายในการเล่าเรื่องและเชื่อมต่อสิ่งต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์


สัญลักษณ์

               
คนกบแดง




4.2 แหล่งที่มาของศูนย์ :
                 รัฐบาลมีภารกิจที่สำคัญ คือ การทำให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ทำให้คนไทยมี คุณภาพด้วยการที่สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ๆ ด้วยตนเองได้ตลอดเวลา ดังนั้นสังคมจึงควรมีแหล่งที่จะแสวงหาความรู้ที่มีความหลากหลายในรูปแบบและ เนื้อหา ในประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนมากจะมีแหล่งแสวงหาความรู้สำหรับคนในแต่ละช่วงวัย และมีความสนใจต่างๆ โดยมีทั้งห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์นันทนาการและกีฬา โรงละคร หอศิลป์ และสถานที่แสดงดนตรี รวมทั้งสนับสนุนให้ ชุมชนมีกิจกรรมเพื่อการเติบโตของความรู้ สติปัญญา และความงอกงามของจิตใจ สำหรับประเทศไทยซึ่งจำเป็นต้องขยายโอกาสทางการศึกษา ด้วยสถาบันใหม่ที่จะมารองรับการศึกษายุคปฏิรูปให้ทันกับโลกยุคการเรียนรู้ แบบไร้ขีดจำกัด (
school without walls) เพราะคุณภาพชีวิตของคนรุ่นใหม่ให้คุณค่าต่อการศึกษาเรียนรู้ ที่ทำให้สามารถเข้าใจโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สามารถเข้าใจปัญหาที่เผชิญหน้าควบคู่ไปกับความเพลิดเพลิน ประเทศจึงต้องการ "พิพิธภัณฑ์" ในฐานะที่เป็นสถาบันใหม่ที่สะท้อนความมั่นคงของสังคม วัฒนธรรม ลักษณะเฉพาะตน และความภาคภูมิใจในสังคมของตน
4.3 แผนการดำเนินงาน (ถ้ามี) :
                ใช้เวลาในการดำเนินการ รวม
5 ปี ( ปี 2547 - ปี 2551 )


                


                                    _______________________________________________________________

ให้นิสิตแต่ละคนหาตัวอย่างผังโครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ มาคนละ ผังโครงสร้าง พร้อมเขียนอธิบายดังนี้                1.1 แหล่งอ้างอิงของโครงสร้างศูนย์                1.2 โครงสร้างดังกล่าวเป็นประเภทใด เพราะเหตุใด




1.โครงสร้างสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา           
แหล่งที่มา
 http://www.khoratfossil.org/museum/index.php?option=com_content&task=view&id=20&Itemid=36
        เป็นโครงสร้างรูปแบบ Line Organization เพราะเป็นรูปแบบการจัดโครงสร้างตามงานที่รับผิดชอบในอำนาจหน้าที่กันเป็นขั้น ๆ จากระดับสูงสุดไปจนกระทั่งต่ำสุด
2  2.โครงสร้างการบริหารของกรมอุตุนิยมวิทยา
                แหล่งที่มา 
http://www.tmd.go.th/aboutus/structure.php
  เป็นการจัดโครงสร้างรูปแบบ Line and Staff Organization เป็น รูปแบบการจัดโครงสร้างสาหรับหน่วยงานขนาดใหญ่ ซึ่งลาพังผู้บริหารคนเดียวไม่สามารถดาเนินการได้ จึงมีในรูปแบบของคณะกรรมการต่าง ๆ เข้ามาเป็นผู้ช่วยควบคุมการทางานโดยมีอำนาจทางอ้อมในการดำเนินการนั้น ๆ

ประเภทของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้

1. ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ถ้าแบ่งตามกลุ่มเป้าหมายของระบบการศึกษาได้กี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ  แบ่งได้ 3 ประเภท
                1.ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ สำหรับการศึกษาในระบบโรงเรียน
                2.ศูนย์ทรัพยากรณ์การเรียนรู้ สำหรับการศึกษานอกระบบ
                3.ศูนย์ทรัพยากรณ์การเรียนรู้ สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัย

---------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้แต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สำหรับการศึกษาในระบบโรงเรียน หมายถึงหน่วยงานที่สนับสนุนการเรียนการสอนทั้งสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ซึ่งมีการดำเนินการได้หลายลักษณะและมีชื่อเรียกแตกต่างกัน ศูนย์ทรัพยากรณ์การเรียนรู้สำหรับการศึกษานอกระบบ เป็นศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ที่มีเป้าหมายโดยมุ่งการให้บริการกับผู้เรียนที่มีจุดมุ่งหมายที่จะให้ผู้ เรียนได้รับความรู้ด้านพื้นฐาน ทักษะในการประกอบอาชีพและทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพหรือความรู้ด้าน อื่นๆ  ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นศูนย์รวมและให้บริการความรู้โดยมุ่งให้กลุ่มเป้าหมายได้ศึกษาจาก ประสบการณ์การทำงาน บุคคล ครอบครัว สื่อมวลชน ชุมชน แหล่งความรู้ต่างๆเพื่อเพิ่มพูน ความรู้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ เป็นต้น
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3. ให้นิสิตหาตัวอย่างศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ประเภท ละ 3 ศูนย์ พร้อมบอกสถานที่ตั้ง และกลุ่มเป้าหมายของศูนย์นั้น ๆ พร้อมแหล่งอ้างอิง
ตอบ  ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ สำหรับการศึกษาในระบบโรงเรียน
1.ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา ตั้งอยู่ที่ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาhttp://www.ceted.org/ceted2010/about-building.php

2.สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งอยู่ทึ่ มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา
3.สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง ตั้งอยู่ที่ อาคารผาเมือง หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพ  กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา http://www.techno.ru.ac.th/
ศูนย์ทรัพยากรการเรียนสำหรับการศึกษานอกระบบ
                1.ศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่ 69/310 ซ.เฉลิมพระเกียรติ28 ถ.สุขุมวิท 103 แขวงดออกไม้ เขตประเวศ กรุงเทพ 10250 http://www.ศูนย์ฝึกอาชีพ.com/            กลุ่มเป้าหมายนักศึกษา
                                2.ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อาคารสัมมนา 1 ชั้น 4 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 http://thaitelecentre.org/main/index.php/academy/2011-06-18-10-20-34   กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา
                                3.ศูนย์การศึกษานอกระบบ จังหวัดนครราชสีมา ถนนสืบศิริ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา  http://korat.nfe.go.th/index.php   กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา

                ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัย
                                1.ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 928 ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 http://www.sciplanet.org/ewt_news.php?nid=12&filename=index  กลุ่มเป้าหมาย บุคคลทั่วไป
                                2.สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131 http://www.bims.buu.ac.th/j3/  กลุ่มเป้าหมาย บุคคลทั่วไป
                                3. พิพิธภัณฑ์สิรินธร ตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์   http://www.dmr.go.th/dmr_data/sirindhorn/main.htm กลุ่มเป้าหมาย  บุคคลทั่วไป
-------------------------------------------------------------------------------------------

2.สวนสัตว์เชียงใหม่
เป็นแผนผังแบบ Line and staff Organization เพราะ สวนสัตว์เชียงใหม่เป็นศูนย์การเรียนรู้ขนาดใหญ่ มีการแบ่งการทำงานกันออกเป็นหลายๆฝ่ายๆ จะต้องมีการแยกหน้าที่ออกไปรับผิดชอบงานแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน และทุกฝ่ายจะต้องมีหัวหน้าของแต่ละฝ่ายคอยดูแลรับผิดชอบ และมีหัวหน้าใหญ่สุดคือ ผู้อำนวยการ



4. ให้นิสิตแต่ละคน หาตัวอย่างของศูนย์สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัยมา คนละ 1 ศูนย์ โดยต้องอธิบายดังรายละเอียดต่อไปนี้
4.1       นโยบาย ของศูนย์ วิสัยทัศน์ และกลุ่มเป้าหมายของศูนย์
4.2       แหล่งที่มาของศูนย์
4.3       แผนการดำเนินงาน (ถ้ามี)

ตอบ  พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
วิสัยทัศน์
มุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ในสังคมไทยพันธกิจส่ง เสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มคุณภาพทรัพยากรบุคคลของประเทศ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
บทบาทและหน้าที่
1. เป็นแหล่งบริการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เสริมการ
เรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้รูปแบบพิพิธภัณฑ์
การศึกษา เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมแก่สังคม
2. ดำเนินการจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ธรรมชาติวิทยา สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สุขภาพ ดาราศาสตร์และ
อวกาศ แก่นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ในรูปแบบของการจัด
นิทรรศการ การแสดง กิจกรรมการศึกษา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อ
การเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ

3. ดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา ข้อมูลวิชาการและ
รูปแบบด้านเทคนิค เพื่อจัดทำสื่อ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สื่อ
นิทรรศการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อสิ่งพิมพ์
4. ประสานงานและดำเนินงานด้านการต่างประเทศในภารกิจของหน่วยงาน

5. ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินงานด้านการเผยแพร่ความรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน
6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง

แหล่งที่มา http://www.sciplanet.org/ewt_news.php?nid=10&filename=index
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 
5. ให้นิสิตแต่ละคนหาตัวอย่างผังโครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ มาคนละ 2 ผังโครงสร้าง พร้อมเขียนอธิบายดังนี้
      5.1  แหล่งอ้างอิงของโครงสร้างศูนย์
      5.2 โครงสร้างดังกล่าวเป็นประเภทใด เพราะเหตุใด

ตอบ   1.ผังโครงสร้างพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา



เป็นแผนผังแบบ Line and staff Organizaion  เพราะ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ขนาดใหญ่ มีการบริหารงานที่มากมาย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมารับผิดชอบงานฝ่ายต่างๆ ได้แก่ ส่วนอำนวยการ ส่วนวิชาการ และส่วนเทคนิคการผลิค ซึ่งแต่ละส่วนก็จะแบ่งเป็นฝ่ายต่างๆรับผิดชอบหน้าที่ต่อ

แหล่งข้อมูล www.sciplanet.org/

2.สวนสัตว์เชียงใหม่

เป็นแผนผังแบบ Line and staff Organization เพราะ สวนสัตว์เชียงใหม่เป็นศูนย์การเรียนรู้ขนาดใหญ่ มีการแบ่งการทำงานกันออกเป็นหลายๆฝ่ายๆ จะต้องมีการแยกหน้าที่ออกไปรับผิดชอบงานแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน และทุกฝ่ายจะต้องมีหัวหน้าของแต่ละฝ่ายคอยดูแลรับผิดชอบ และมีหัวหน้าใหญ่สุดคือ ผู้อำนวยการ

โครงการของศุนย์ทรัพยากรการเรียนรู้



 กิจกรรมที่ 3 ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ 2 โครงสร้าง

- ให้นิสิตแต่ละคนหาตัวอย่างผังโครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ มาคนละ 2 ผังโครงสร้าง

1. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณทิตย์



 โครงสร้างดังกล่าวเป็นประเภทใด เพราะเหตุใด : โครงสร้างประเภท Line and Staff Organization เพราะ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณทิตย์ เป็นหน่วยงานขนาดใหญ่ ถ้ามีผู้บริหารคนเดียวไม่สามารถดำเนินการได้ จึงมีในรูปแบบของคณะกรรมการต่างๆ เข้ามาเป็นผู้ช่วยควบคุมการทำงานโดยมีอำนาจทางอ้อมในการดำเนินการนั้น ๆ

2. การบริหารโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน




 
โครงสร้างเป็นแบบ Line Organization เพราะ เป็นรูปแบบการจัดโครงสร้างตามงานที่รับผิดชอบในอำนาจหน้าที่กันเป็นขั้น ๆ จากระดับสูงสุดไปจนกระทั่งต่ำสุด